Advanced Chemistry เจาะลึกเคมี ม.ปลาย (ฉบับทฤษฎี)

คุณสมบัติสินค้า:

Share

Advanced Chemistry เจาะลึกเคมี ม.ปลาย (ฉบับทฤษฎี)

ผู้แต่ง :  ภก.ธนโชติ เรืองสาตรา (พี่เบนซ์)
จำนวนหน้า : 552 หน้า
ISBN : 9786164940888

สรุปทุกเนื้อหาภาคทฤษฎีที่ควรรู้ แบบฝึกหัดและแนวข้อสอบแบบจัดเต็ม!
เหมาะสำหรับผู้ที่เตรียมสอบโครงการ สอวน. สอบเข้ามหาวิทยาลัย และสนามสอบอื่นๆ
แจกฟรี! QR Code คลิปอธิบายเสริมเนื้อหา
รู้ลึกเรื่องเคมี เก่ง! มั่นใจ! พร้อมสอบติด!

• เนื้อหาแน่น สรุปกระชับ เข้าใจง่าย ครอบคลุมทุกเรื่องเคมี (ฉบับทฤษฎี)
• เน้นตัวอย่าง เทคนิคข้อควรรู้ ภาพประกอบสี่สีทั้งเล่ม!
• มีแบบฝึกหัดท้ายเรื่องทำเพิ่มความจำ พร้อมเฉลยละเอียดเสริมความเข้าใจ
• รวมโจทย์หลากหลาย เตรียมพร้อมสอบทุกสนาม!

*คลิกอ่านตัวอย่างหนังสือ*

บทที่ 1 โครงสร้างอะตอม

• ทฤษฎีอะตอมของดอลตัน

• การทดลองหลอดรังสีแคโทด

• การค้นพบอิเล็กตรอนของทอมสัน

• การทดลองหยดน้ำมันของมิลลิแกน

• แบบจำลองอะตอมของทอมสัน

• แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด

• การค้นพบนิวตรอนของแชดวิก

   - สรุปอนุภาคมูลฐานของอะตอม

• การทดลองการแผ่รังสีของวัตถุดำ

   - สรุปจากการทดลองการแผ่รังสีของวัตถุดำ

• ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก

• การทดลองสเปกตรัมของไฮโดรเจน

  - การใช้สเปกตรัมวิเคราะห์ชนิดของธาตุในสารประกอบ

• ทฤษฎีอะตอมของโบร์

• แนวคิดเกี่ยวกับความเป็นคลื่นของอิเล็กตรอน

• สรุปทฤษฎีของแสง

• หลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก

• แบบจำลองอะตอมกลุ่มหมอกอิเล็กตรอน

• การเขียนสัญลักษณ์ของอิเล็กตรอนในออร์บิทัล

• ระดับพลังงานของออร์บิทัล

• หลักการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอนุภาคที่มีมากกว่า 1 อิเล็กตรอน

• ความเสถียรของอะตอม

   - ความสเถียรของธาตุหมู่ 8A

   - การเกิดเป็นไอออนบวกของโลหะ

   - การเกิดไอออนลบและพันธะโคเวเลนต์ของโลหะ

   - การจัดเรียงอิเล็กตรอนที่ไม่เป็นไปตามหลักเอาฟบาว

• รูปแบบการจัดเรียงของอะตอม

   - การจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบชั้นพลังงานหลัก

   - การจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบใช้ธาตุหมู่ 8A

   - การจัดเรียงอิเล็กตรอนของไอออน

• สมบัติแม่เหล็กของอะตอม

• ลักษณะของอะตอมที่ควรรู้จัก

• เลขควอนตัม

   - เลขควอนตัมหลัก

   - เลขควอนตัมโมเมนตัมเชิงมุม

   - เลขควอนตัมแม่เหล็ก

   - เลขควอนตัมสปิน

• แบบจำลองมาตรฐานของอนุภาค

• เฉลยแบบฝึกหัด

บทที่ 2 ตารางธาตุ

• วิวัฒนาการของตารางธาตุ

  - กฎชุดสาม

  - กฎชุดแปด

  - กฎพิริออดิก

  - ตารางธาตุในยุคปัจจุบัน

• การแบ่งโซนของตารางธาตุ

   - โซน s-block และ p-block

   - โซน d-block

   - โซน f-block

• ชื่อธาตุที่เป็นระบบ

• แนวโน้มของสมบัติธาตุตามตารางธาตุ

   - ประจุนิวเคลียร์สุทธิ

   - ขนาดอะตอม

   - ขนาดไอออน

   - พลังงานไอออไนเซชัน

   - สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน

   - อิเล็กโทรเนกาติวิตี

   - ศักย์ไฟฟ้ารีดักชันมาตรฐาน

   - สถานะออกซิเดชัน

   - จุดเดือดและจุดหลอมเหลว

   - ความหนาแน่น

   - สรุปแนวโน้มสมบัติตามตารางธาตุ

• เฉลยแบบฝึกหัด

บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ

• ธาตุไฮโดรเจน

• ธาตุ 1A-8A

   - ธาตุหมู่ 1A: Alkali Metal

   - ธาตุหมู่ 2A: Alkaline Earth

   - ธาตุหมู่ 3A (13): Boron Family

   - ธาตุหมู่ 4A (14): Carbon Family

   - ธาตุหมู่ 5A (15): Pnictogen

   - ธาตุหมู่ 6A (16): Chalcogen

   - ธาตุหมู่ 7A (17): Halogen

   - ธาตุหมู่ 8A (18): แก๊สเฉื่อย (Inert Gas)

• ธาตุแทรซิชัน

   - การจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุแทรนซิชัน

   - สมบัติทางกายภาพของธาตุแทรนซิชัน

   - สมบัติทางเคมีของธาตุแทรนซิชัน

   - สารประกอบเชิงซ้อน

   - การหาเลขออกซิเดชันของโลหะแทรนซิชันในสารประกอบเชิงซ้อน

• ธาตุกัมมันตรังสีและปฏิกิริยานิวเคลียร์

   - การเขียนสมการนิวเคลียร์

   - ลักษณะของกัมมันตภาพรังสีที่ควรรู้จัก

   - การทำนายการเกิดกัมมันตภาพรังสี

   - การตรวจสอบการเกิดรังสี

   - การบอกอายุของธาตุกัมมันตรังสี

   - ประโยชน์ของธาตุกัมมันตรังสี

   - กระบวนการแปรนิวเคลียส

   - ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชัน

   - ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน

• สมบัติของสารประกอบ

   - สารประกอบออกไซด์

   - สารประกอบคลอไรด์

• ธาตุและสารประกอบในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมที่ควรรู้จัก

• เฉลยแบบฝึกหัด

บทที่ 4 พันธะเคมี

• พันธะโลหะ

   - สมบัติโลหะ

• พันธะไอออนิก

   - ลักษณะของพันธะไอออนิก

   - การเขียนสูตรของสารประกอบไอออนิก

   - การอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก

   - โครงสร้างของสารประกอบไอออนิก

   - กลไกการเกิดสารประกอบไอออนิก

   - ปฏิกิริยาเคมีของสารประกอบไอออนิก

   - กลไกการละลายน้ำของสารประกอบไอออนิก

   - การเขียนสมการไอออนิกสุทธิ

   - สมบัติของสารประกอบไอออนิก

• พันธะโคเวเลนต์

   - ลักษณะของพันธะโคเวเลนต์

   - รูปแบบของพันธะโคเวเลนต์

   - การเปรียบเทียบพันธะ

   - การเขียนสัญลักษณ์สารที่มีพันธะโคเวเลนต์

   - การแสดงประจุในโครงสร้างโคเวเลนต์

   - การเกิดพันธะโคเวเลนต์ที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต

   - การอ่านชื่อสารประกอบโคเวเลนต์

   - การเขียนโครงสร้างโคเวเลนต์

   - ปรากฏการณ์เรโซแนนซ์

   - รูปร่างของโครงสร้างโคเวเลนต์

   - การเปรียบเทียบมุมพันธะของโครงสร้างโคเวเลนต์

   - สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์

   - อันตรกิริยาระหว่างโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์

   - สมบัติทางกายภาพของโมเลกุลโคเวเลนต์ที่เกี่ยวข้องกับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล

   - การแตกตัวได้ของโมเลกุลโคเวเลนต์

   - โคเวลนต์ชนิดโครงผลึกร่างตาข่าย

   - สรุปสมบัติของสารโคเวเลนต์

   - การคำนวณพลังงานพันธะ

• เฉลยแบบฝึกหัด

บทที่ 5 ทฤษฎีพันธะเวเลนซ์

• แนวคิดของการเกิดพันธะ

• การเกิดไฮบริไดเซชัน

   - ไฮบริออร์บิทัล sp

   - ไฮบริออร์บิทัล sp2

   - ไฮบริออร์บิทัล sp3

   - ไฮบริออร์บิทัล sp3d

   - ไฮบริดออร์บิทัล sp3d2

• รูปแบบการซ้อนทับกันของออร์บิทัล

   - การซ้อนทับกันแบบซิกมา

   - การซ้อนทับกันแบบไพ

• ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ของทฤษฎีพันธะเวเลนต์

   - การอธิบายรูปร่างโมเลกุลของสารประกอบประเภทอัลลีน

   - การอธิบายปรากฏการณ์เรโซแนนซ์

   - การอธิบายสภาพขั้วของสารประกอบเบนซีน

• ข้อจำกัดของทฤษฎี VSEPR ในการทำนายรูปร่างโมเลกุล

   - รูปร่างของไนโตรเจนในพันธะเอไมด์และวงแหวนอะโรมาติก

   - ลักษณะอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของออกซิเจนในสารประกอบชนิดต่างๆ

• เฉลยแบบฝึกหัด

บทที่ 6 เคมีอินทรีย์

• การแสดงโครงสร้างของสารอินทรีย์

   - การแสดงสูตรโครงสร้างแบบย่อ

   - การแสดงสูตรโครงสร้างแบบเส้นและมุม

• หมู่ฟังก์ชันของสารอินทรีย์

   - สารประกอบกลุ่มไฮโดรคาร์บอน

   - สารประกอบอนุพันธ์ของน้ำ

   - สารประกอบกลุ่มเอมีน

   - สารประกอบกลุ่มคาร์บอนิล

   - สารประกอบกลุ่มคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์

• การอ่านชื่อสารอินทรีย์

   - ระบบตัวเลขที่ใช้ในการกำหนดชื่อ

   - การอ่านชื่อสารประกอบแอลเคนในระบบสากล (IUPAC)

   - การอ่านชื่อสารที่หมู่ฟังก์ชันอื่นๆ ในระบบ IUPAC

• ไอโซเมอร์ของสารอินทรีย์

   - ไอโซเมอร์โครงสร้าง

   - สเตอริโอไอโซเมอร์

• สมบัติของสารอินทรีย์จำแนกตามหมู่ฟังก์ชัน

   - ความมีขั้วของโมเลกุลและความสามารถในการละลายน้ำ

   - จุดเดือด

   - จุดหลอมเหลว

   - ความเป็นกรด-เบสของโมเลกุล

• การแสดงกลไกปฏิกิริยาของสารประกอบอินทรีย์

   - ประเภทของอนุภาคในปฏิกิริยาเคมี

   - กลไกการสร้างและสลายพันธะ

   - สารมัธยันตร์ของคาร์บอนที่เกิดขึ้นระหว่างการดำเนินไปของปฏิกิริยา

   - กลไกพื้นฐานในการเกิดปฏิกิริยาของสารอินทรีย์

• ปฏิกิริยาของสารอินทรีย์ที่ควรรู้จัก

   - ปฏิกิริยาการเผาไหม้

   - ปฏิกิริยาการแทนที่ด้วยแฮโลเจนของแอลเคน

   - ปฏิกิริยาการเติมแฮโลเจนของแอลคีนและแอลไคน์

   - ปฏิกิริยาการเติมไฮโดรเจนของแอลคีนและแอลไคน์

   - ปฏิกิริยาการเติมไฮโดรเจนเฮไลด์ของแอลคีนและแอลไคน์

   - ปฏิกิริยาการเติมน้ำของแอลคีนและแอลไคน์

   - ปฏิกิริยาออกซิเดชันของแอลคีนและแอลไคน์

   - ปฏิกิริยาการแทนที่ด้วยแฮโลเจนของสารประกอบเบนซีน

   - ปฏิกิริยาแสดงความเป็นกรดของแอลกอฮอล์ ฟีนอล และคาร์บอกซิลิก

   - ปฏิกิริยาออกซิเดชันของแอลกอฮอล์และแอลดีไฮด์

   - ปฏิกิริยารีดักชันของแอลดีไฮด์และคีโตน

   - ปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน

   - ปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชัน

   - ปฏิกิริยาการเกิดเอไมด์

   - ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเอสเทอร์และเอไมด์ในสภาวะกรด

   - ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเอสเทอร์และเอไมด์ในสภาวะเบส

• เฉลยแบบฝึกหัด

บทที่ 7 พอลิเมอร์

• ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์

   - ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์แบบการเติม

   - ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์แบบควบแน่น      

• โครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์

   - พอลิเมอร์แบบเส้น

   - พอลิเมอร์แบบกิ่ง

   - พอลิเมอร์แบบร่างแห

• ผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ในชีวิตประจำวัน

   - พลาสติก

   - ยาง

   - เส้นใย

   - ซิลิโคน

• เฉลยแบบฝึกหัด

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้